Page 4 - index
P. 4

หน้า 4/9


                                                   คู่มือขั้นตอนการปฏิบติงานตรวจสอบ
                                                                              ั


                                         กลุ่มตรวจสอบภายใน ส านักงานเศรษฐกิจการคลัง
                                                วันที่เริ่มใช้งาน : มีนาคม 2557

                                                         การปรับปรุง
                 การปรับปรุงครั้งที่ : 2 (ปี 2561)  การปรับปรุงครั้งที่ : 3 (ปี 2564)  การปรับปรุงครั้งที่ : 4 (ปี 2568)

                              1.3  การประเมินความเสี่ยง

                                  เพื่อช่วยให้สามารถพิจารณาถึงความเสี่ยงหรือความน่าจะเป็นที่อาจเกิดขึ้นและเป็นผลท าให้
               การท างานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร ซึ่งหากพจารณาแล้วเห็นว่ามีความส าคัญในระดับสูง ก็ควรวางแผน
                                                            ิ
               การตรวจสอบทันที ขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบประกอบด้วย
                                     • การระบุปัจจัยเสี่ยง เป็นการค้นหาถึงสาเหตุที่จะก่อให้เกิดความเสี่ยงขึ้นภายในองค์กร

                                     • การวิเคราะห์ความเสี่ยง เมื่อสามารถระบุสาเหตุความเสี่ยงภายในองค์กรแล้ว ก็ท าการ
                                                                                                        ี
               วิเคราะห์ว่าปัจจัยเสี่ยงนั้นมีผลกระทบอย่างไรต่อองค์กรและมีโอกาสหรือความถี่ที่จะเกิดมากน้อยเพยงใด
               ผลกระทบที่เกิดอาจเทียบกับจ านวนเงินที่ต้องเสียไปจากการด าเนินงานไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ หรือการระบุ
               ผลกระทบเป็นปริมาณหรือตัวเลข

                                     • จัดล าดับความเสี่ยง โดยน าหน่วยงานหรือกิจกรรมมาวางแผนการตรวจสอบตามเกณฑ์
               การประเมินความเสี่ยงจากสูงมากไปหาน้อยสุด
                                  ทั้งนี้ ผู้ตรวจสอบภายในต้องจัดท าแผนการปฏิบัติงานตามภารกิจ ให้สอดคล้องกับแผน

               การตรวจสอบประจ าปี ในการวางแผนปฏิบัติงานต้องอาศัยข้อมูลจากการส ารวจข้อมูลเบื้องต้น การประเมินผล
                                                                   ื่
               ระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งผลการประเมินความเสี่ยง เพอให้การวางแผนปฏิบัติงานในแต่ละเรื่องครอบคลุม
                                                                                            ั
               ประเด็นการตรวจสอบที่มีความส าคัญ การวางแผนการปฏิบัติงานควรจัดท าเป็นลายลักษณ์อกษร และมีลักษณะ
               ยืดหยุ่น โดยสามารถแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมตามสภาวการณ์ได้ตลอดเวลา


               ขั้นตอนที่ 2 การปฏิบัติงานตรวจสอบ
                              การปฏิบัติงานตรวจสอบ หมายถึง กระบวนการตรวจสอบ สอบทาน และรวบรวมหลักฐาน
               เพอวิเคราะห์และประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่าง ๆ ว่าเป็นไปตามนโยบาย แผนงาน ระเบียบปฏิบัติ
                 ื่
               ขององค์กร รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งเสนอข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบและข้อเสนอแนะต่อผู้บริหาร
               เพื่อประกอบการตัดสินใจในการบริหารงาน
                              ผู้ตรวจสอบภายในต้องจัดท าแผนการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งก าหนด
                                                                                           ิ
               วัตถุประสงค์ ขอบเขต ระยะเวลา และการจัดสรรทรัพยากร โดยแผนการปฏิบัติงานต้องพจารณาถึงยุทธศาสตร์
               วัตถุประสงค์ และความเสี่ยงของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9