Page 3 - index
P. 3
หน้า 3/9
ั
คู่มือขั้นตอนการปฏิบติงานตรวจสอบ
กลุ่มตรวจสอบภายใน ส านักงานเศรษฐกิจการคลัง
วันที่เริ่มใช้งาน : มีนาคม 2557
การปรับปรุง
การปรับปรุงครั้งที่ : 2 (ปี 2561) การปรับปรุงครั้งที่ : 3 (ปี 2564) การปรับปรุงครั้งที่ : 4 (ปี 2568)
ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนการตรวจสอบ
การวางแผนการตรวจสอบเป็นการคิดล่วงหน้าก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงานจริง การวางแผนที่ดี
ั
จะช่วยให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ภายในระยะเวลา งบประมาณ และอตราก าลังที่ก าหนด
ในการวางแผนการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายใน จึงควรค านึงถึง
1. วัตถุประสงค์ของกิจกรรมการตรวจสอบ และวิธีการที่ใช้ในการควบคุมผลการด าเนินงาน
ของงานนั้น
2. ความเสี่ยงที่ส าคัญของกิจกรรม วัตถุประสงค์ ทรัพยากร การปฏิบัติงาน และวิธีการที่จะใช้
ในการจัดการกับผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
3. ความเพยงพอ และความมีประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงของกิจกรรมนั้น ๆ รวมทั้ง
ี
ระบบการควบคุมภายในเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
4. โอกาสที่จะปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายในส าหรับกิจกรรมนั้น ๆ
หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในต้องวางแผนการตรวจสอบตามผลการประเมินความเสี่ยง
ิ
ั
เพอจัดล าดับความส าคัญก่อนหลังของกจกรรมที่จะทาการตรวจสอบให้สอดคล้องกบเป้าหมายของหน่วยงานของรัฐ
ื่
ซึ่งแผนการตรวจสอบจะแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่
• แผนการตรวจสอบระยะยาว เป็นแผนที่จัดท าไว้ล่วงหน้า โดยทั่วไปมีระยะเวลา 3 - 5 ปี
และต้องก าหนดให้ครอบคลุมหน่วยรับตรวจที่อยู่ในความรับผิดชอบทั้งหมด
• แผนการตรวจสอบประจ าปี เป็นแผนที่จัดท าไว้ล่วงหน้า มีระยะเวลา 1 ปี และต้องจัดท าให้
สอดคล้องกับแผนการตรวจสอบระยะยาวที่ก าหนดไว้ โดยการดึงหน่วยงานและเรื่องที่จะตรวจสอบในแต่ละปี
ตามที่จัดท าในแผนการตรวจสอบระยะยาวมาจัดท าเป็นแผนการตรวจสอบประจ าปี
ื่
เพอให้การวางแผนการตรวจสอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ตรวจสอบภายในควรด าเนินการ
ตามขั้นตอน ดังนี้
1.1 การส ารวจข้อมูลเบื้องต้น
ื่
เพอให้ผู้ตรวจสอบภายในเรียนรู้และท าความเข้าใจเกี่ยวกับงานของหน่วยงานที่ต้องท าการ
ี
ตรวจสอบในรายละเอยด ซึ่งจะช่วยให้ผู้ตรวจสอบภายในสามารถประเมินความเสี่ยงในชั้นต้นเพอก าหนดประเด็น
ื่
ที่คาดว่าเป็นปัญหาส าคัญที่ควรตรวจสอบ ก่อนจะด าเนินการตรวจสอบได้อย่างเหมาะสมและเป็นระบบ
1.2 การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน
ื่
เพอประเมินความเพยงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน เพอให้ทราบว่า
ี
ื่
ระบบการควบคุมภายในที่ได้จัดวางไว้นั้นได้น าไปปฏิบัติตามที่ก าหนด และผลงานบรรลุตามเป้าหมายขององค์กร