Page 7 - index
P. 7
หน้า 7/๙
คู่มือขั้นตอนการปฏิบติงานตรวจสอบ
ั
กลุ่มตรวจสอบภายใน ส านักงานเศรษฐกิจการคลัง
วันที่เริ่มใช้งาน : มีนาคม 2557
การปรับปรุง
การปรับปรุงครั้งที่ : 2 (ปี 2561) การปรับปรุงครั้งที่ : 3 (ปี 2564) การปรับปรุงครั้งที่ : 4 (ปี 2568)
ขั้นตอนที่ 3 การรายงานผลการตรวจสอบ
การจัดท ารายงาน เป็นการรายงานผลการตรวจสอบให้ผู้บริหารทราบถึงวัตถุประสงค์ ขอบเขต
วิธีปฏิบัติงานและผลการตรวจสอบข้อมูลทั้งหมด ทุกขั้นตอน สรุปข้อบกพร่องที่ตรวจพบ ประเด็นความเสี่ยง
ที่ส าคัญและการควบคุม รวมทั้งเรื่องอน ๆ ที่ผู้บริหารควรทราบ พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข ปรับปรุง
ื่
เพื่อเสนอผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้องพิจารณาสั่งการแก้ไขปรับปรุงต่อไป
ิ
การเสนอรายงานผลการตรวจสอบ เป็นเทคนิคอย่างหนึ่งที่ผู้ตรวจสอบจะต้องเอาใจใส่เป็นพเศษ
เพราะรายงานนั้นแสดงให้เห็นถึงคุณภาพของการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในทั้งหมด ลักษณะของรายงาน
ที่ดีต้องเป็นรายงานที่มีประโยชน์ ต่อผู้อานรายงานเรื่องที่มีสาระส าคัญข้อตรวจพบเป็นเรื่องที่ตรงกับข้อเท็จจริง
่
ข้อเสนอแนะ หรือข้อแนะน าเป็นประโยชน์และสามารถปฏิบัติได้ ทั้งนี้ ผู้ตรวจสอบภายในควรรายงานผล
การปฏิบัติงานอย่างทันกาล โดยรายงานดังกล่าวประกอบด้วย วัตถุประสงค์ ขอบเขต การสรุปผลการตรวจสอบ
ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขที่สามารถนาไปปฏิบัติได้ด้วยความถูกต้อง ครบถ้วน
ชัดเจน เที่ยงธรรม รัดกุม สร้างสรรค์และรวดเร็ว รวมทั้งควรเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง
และเหมาะสมได้รับทราบ
โดยคุณภาพของรายงานผลการตรวจสอบ ประกอบด้วย
3.1 การรายงานผลการตรวจสอบด้วยความถูกต้อง คือ ปราศจากข้อผิดพลาด และการบิดเบือน
โดยให้มีลักษณะตรงไปตรงมาตามข้อเท็จจริง
3.2 การรายงานด้วยความเที่ยงธรรม คือ มีความยุติธรรม ไม่อคติ ไม่ล าเอียง และเป็นผลที่ได้มา
จากการประเมินข้อเท็จจริงและสถานการณ์ทั้งหมดอย่างยุติธรรมและสมดุล
3.3 การรายงานด้วยความชัดเจน คือ ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย และเป็นเหตุเป็นผล หลีกเลี่ยงการใช้
ค าศัพท์เทคนิคที่ไม่จ าเป็น รวมถึงมีการกล่าวถึงข้อมูลที่ส าคัญ และเกี่ยวข้องไว้อย่างครบถ้วน
3.4 การรายงานที่รัดกุม คือ ตรงประเด็น ไม่เยิ่นเย้อ ไม่ซ้ าซ้อน และไม่มีการน าเสนอ
รายละเอียดปลีกย่อยที่ไม่จ าเป็น
3.5 การรายงานที่สร้างสรรค์ เป็นการสร้างประโยชน์ให้กับผู้รับบริการและหน่วยงาน
อันจะน าไปสู่การปรับปรุงในส่วนที่จ าเป็น
3.6 การรายงานที่ครบถ้วน เป็นการน าเสนอข้อมูลที่มีใจความส าคัญต่อผู้อานรายงาน
่
อย่างครบถ้วน ซึ่งรวมถึงข้อมูลส าคัญที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการให้ข้อสังเกตต่าง ๆ ที่เป็นการสนับสนุนข้อเสนอแนะ
และสรุปผลการตรวจสอบ
3.7 การรายงานที่ทันกาล คือ การรายงานที่ทันเวลา โดยเปิดโอกาสให้ฝ่ายบริหารได้ด าเนินการ
แก้ไขได้อย่างเหมาะสม