Page 9 - index
P. 9

๙



                                   (4) ชั้นคณะรัฐมนตรี
                                     1) เข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี

                                     2) คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบในหลักการ
                                     3) เข้าสู่การพิจารณาของส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
                                     4) เสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายที่ผ่านการพิจารณาของส านักงาน
                 คณะกรรมการกฤษฎีกา

                                    (5) เข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเป็น 3 วาระ
                                     วาระที่ 1 ขั้นรับหลักการ ถ้าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่รับหลักการร่างพระราชบัญญัตินั้น
                                                           ี
                 เป็นอันตกไป แต่ถ้าสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบ จะมการตั้งคณะกรรมาธิการเพอพิจารณารายละเอียด
                                                                                ื่
                                     วาระที่ 2 พิจารณาเรียงมาตรา
                                     วาระที่ 3 ลงมติให้ความเห็นชอบ ถ้าสภาผู้แทนราษฎรไม่เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ
                 ดังกล่าวเป็นอันตกไป แต่ถ้าสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบให้เสนอต่อวุฒิสภาพิจารณา
                                    (6) เข้าสู่การพิจารณาของวุฒิสภาให้ความเห็นชอบ ซึ่งมีขั้นตอนเหมือนชั้นสภาผู้แทนราษฎร
                                    (7) ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศใน

                 ราชกิจจานุเบกษาเพอให้มีผลใช้บังคับ
                                  ื่
                             1.2 การยกร่างพระราชก าหนด
                                   การตราพระราชก าหนดเป็นกรณีที่พระมหากษัตริย์ใช้พระราชอ านาจในการตรากฎหมาย

                                        ี่
                 ในกรณีเพื่อประโยชน์ในอันทจะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคง
                 ในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปัดป้องภัยพิบัติสาธารณะ
                                   การตราพระราชก าหนดจะกระท าได้ต่อเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นว่าเป็นกรณีฉุกเฉนที่มีความ
                                                                                               ิ
                 จ าเป็นรีบด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ (ต้องเสนอร่างพระราชก าหนดต่อคณะรัฐมนตรี แต่ไม่ต้องเสนอสภาเพอ
                                                                                                       ื่
                 พิจารณา สามารถประกาศใช้ได้ทันที แต่ต้องน ามาขอความเห็นชอบต่อสภาในภายหลัง)

                               ในการประชุมรัฐสภาคราวต่อไป ให้คณะรัฐมนตรีเสนอพระราชก าหนดนั้นต่อรัฐสภาเพอ
                                                                                                      ื่
                 พิจารณาโดยไม่ชักช้า ถ้าอยู่นอกสมัยประชุมและการรอเปิดสมัยประชุมสามัญจะเป็นการชักช้า คณะรัฐมนตรี
                 ต้องด าเนินการให้มีการเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญเพื่อพิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติพระราชก าหนด โดยเร็ว

                 ถ้าสภาผู้แทนราษฎรไม่อนุมัติ หรือสภาผู้แทนราษฎรอนุมัติแต่วุฒิสภาไม่อนุมัติและสภาผู้แทนราษฎร ยืนยันการ
                 อนุมัติด้วยคะแนนเสียงไม่มากกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
                 ให้พระราชก าหนดนั้นตกไป แต่ทั้งนี้ไม่กระทบกระเทือนกิจการที่ได้เป็นไปในระหว่างที่ใช้พระราชก าหนดนั้น
                             1.3 การยกร่างพระราชกฤษฎีกา

                                   พระราชกฤษฎีกาเป็นกฎหมายล าดับรอง ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติหรือ
                 พระราชก าหนด และร่างพระราชกฤษฎีกาต้องผ่านการพิจารณาในชั้นคณะรัฐมนตรี ส านักงานคณะกรรมการ
                 กฤษฎีกา และน าขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษา
                 ก็มีผลใช้บังคับได้ โดยมิต้องผ่านการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา

                             1.4 การยกร่างกฎกระทรวง
                                   หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจยกร่างกฎกระทรวงโดยอาศัยอ านาจตามกฎหมายแม่บท ซึ่งต้องผ่าน
                 การพิจารณาจากคณะรัฐมนตรี และรัฐมนตรีผู้รักษาการตามกฎหมายแม่บทจะเป็นผู้ลงนามในกฎกระทรวง
                 ในฐานะเป็นผู้ออกกฎหมายและน าไปประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อให้มีผลใช้บังคับ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14