Page 10 - index
P. 10

๑๐



                             1.5 การยกร่างประกาศกระทรวง
                                   หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจยกร่างประกาศกระทรวงโดยอาศัยอ านาจตามกฎหมายแม่บท

                 แต่ไม่ต้องเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงผู้รับผิดชอบเป็นผู้ลงนามแล้วประกาศ
                 ในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ (ประกาศกระทรวงโดยหลักไม่ต้องเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความ
                 เห็นชอบ แต่บางกรณีซึ่งก าหนดไว้ในกฎหมายแม่บทว่าต้องเสนอคณะรัฐมนตรี หรือเป็นเรื่องส าคัญก็อาจ
                 น าเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาได้)

                             1.6 การยกร่างระเบียบ
                                   ร่างระเบียบออกโดยอาศัยอ านาจตามกฎหมายแม่บท ในการเรียกชื่อจะเรียกตามองค์กร
                 ที่ได้รับมอบหมายจากฝ่ายนิติบัญญัติให้ออกระเบียบนั้น อาจเป็นส่วนราชการ (กระทรวง ทบวง กรม) หรือ
                 คณะกรรมการตามกฎหมาย ในการออกระเบียบจะเป็นอ านาจของผู้มีอ านาจที่ได้รับมอบหมายให้ออก

                 ระเบียบนั้น สามารถด าเนินการโดยไม่ต้องเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ
                                   เนื้อหาในการออกระเบียบจะเป็นการก าหนดรายละเอียดที่ส่วนราชการหรือคณะกรรมการ
                 จะได้ก าหนดให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงานของตน


                        2. การตอบข้อหารือ
                            2.1 การตอบข้อหารือระหว่างหน่วยงานภายใน สศค.
                                  ส านักกฎหมายเป็นหน่วยงานสนับสนุนหน่วยงานอื่น ๆ ใน สศค. ซึ่งข้อหารือที่หารือมายัง

                 ส านักกฎหมายมักจะเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวกับกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ สศค. ด้านการเงินและ
                 สถาบันการเงิน สถาบันการเงินเฉพาะกิจ และด้านการประกันภัย ด้านการออมและการลงทุน ด้านการคลัง
                 และภาษี และด้านเศรษฐกิจอน ๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นกฎหมายที่ สศค. จะพิจารณายกร่างขึ้นใหม่
                                         ื่
                           2.2 การตอบข้อหารือหน่วยงานภายนอก สศค.
                                 การตอบข้อหารือหน่วยงานภายนอก สศค. มักเป็นข้อกฎหมายที่หลากหลาย หรือการขอให้

                 พิจารณาร่างกฎหมาย ซึ่งจะเป็นกรณีข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงการคลัง
                       ี
                 หรือที่มการมอบหมายให้ สศค. เป็นผู้รับผิดชอบ


                        3. งานนิติกรรมและสัญญา
                            ส านักกฎหมายรับผิดชอบการพิจารณาร่างนิติกรรม สัญญาต่าง ๆ ที่ สศค. ได้ท าขึ้นกับหน่วยงาน
                 ภายนอกเพื่อการด าเนินงานของส านักงาน


                        4. งานคดี
                            ส านักกฎหมายมีหน้าที่ความรับผิดชอบด าเนินงานเกี่ยวกับความรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา
                 งานคดีปกครอง และงานคดีอนที่อยู่ในอ านาจหน้าที่ของ สศค. ในกรณที่ สศค. กระทรวงการคลัง หรือ
                                         ื่
                                                                          ี
                 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นโจทก์ฟอง หรือถูกฟ้องเป็นจ าเลย เช่น ประสานกับพนักงานอัยการ
                                                     ้
                 จัดท าค าชี้แจงประกอบการท าค าให้การ เข้าร่วมในการบังคับคดี เป็นต้น

                        5. งานพัฒนากฎหมาย
                            คณะรัฐมนตรีมีมติคณะรัฐมนตรีให้หน่วยงานของรัฐระดับกระทรวง ทบวง กรม ต้องมีการ

                                                                            ิ
                                         ื่
                           ั
                 ด าเนินการพฒนากฎหมายเพอให้การตรากฎหมายเป็นไปอย่างมีประสทธิภาพ นอกจากนี้อาจด าเนินการ
                 ยกเลิกกฎหมายที่ไม่จ าเป็น รวมทั้งการรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายเป็นหมวดหมู่อยู่ในที่เดียวกัน ซึ่งส านัก
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15