Page 6 - index
P. 6
บทที่ 2
การอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย ์
ตามกฎกระทรวงว่าด้วยการอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551
2.1 ความเป็นมา
เนื่องจากในอดีตที่ผ่านมา นับตั้งแต่มีการให้ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ได้มี
ระบบการแยกให้ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์เป็นรายธุรกิจ โดยให้ใบอนุญาตแยกเป็น
ตามประเภทธุรกิจหลักทรัพย์ที่ภาคเอกชนได้ยื่นขอรับใบอนุญาต กล่าวคือ ถ้าต้องการขอประกอบ
ธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทใด ก็จะได้รับใบอนุญาตเฉพาะประเภทนั้น
ั
ในปัจจุบัน ได้มีการปรับปรุงระบบแนวปฏิบติจากเดิมที่เป็นระบบที่แยกให้ใบอนุญาต
เป็นรายธุรกิจ (Multiple License Regime) ตามที่กล่าวข้างต้น เปลี่ยนเป็นระบบการให ้
ใบอนุญาตที่ครอบคลุมหลายธุรกิจหลักทรัพย์ (Single License Regime) เพื่อใหสามารถรองรับ
้
้
การท าธุรกิจแบบครบวงจร อันเป็นแนวทางเดียวกับที่ใชอยู่ในต่างประเทศ โดยมีทั้งแบบครอบคลุม
หลายประเภทธุรกิจ (Full Services) และแบบเฉพาะด้าน (Boutique Services) ไดแก่
้
ด้านการท าธุรกิจตราสารหนี้ (Boutique Debt Services) หรือด้านการท าธุรกิจจัดการลงทุน
้
(Boutique Asset Management Services) อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังคงมีการใหใบอนุญาตแยก
ส าหรับธุรกิจหลักทรัพย์บางประเภทที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักไว้ด้วย เชน การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน
่
ี
กิจการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ และการจัดการเงินร่วมลงทุน ทั้งนี้ ระเบยบขั้นตอนการให้
ใบอนุญาตจะยึดปฏิบติตามกฎกระทรวงว่าด้วยการอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์
ั
1
พ.ศ. 2551
์
2.2 ความหมายของแต่ละประเภทธุรกิจหลักทรัพยที่จะได้รับอนุญาตใหประกอบธุรกิจหลักทรัพย
้
์
การได้รับใบอนุญาตตามกฎกระทรวงว่าด้วยการอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์
พ.ศ. 2551 ออกตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบด้วย
ธุรกิจหลักทรัพย์ ดังต่อไปนี้
(1) การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย (Broker : B) คือ การเป็นนายหน้าหรือตัวแทน
์
เพื่อ ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ให้แก่บุคคลอื่น
1 กฎกระทรวงว่าด้วยการอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551 ให้หมายรวมถึง กฎกระทรวงว่าด้วยการ
อนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 และ กฎกระทรวงว่าด้วยการอนุญาตการประกอบ
ธุรกิจหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555